เด็กอายุ 5 – 11 ปี ที่ได้รับวัคซีนโควิด – 19
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการให้วัคซีนโควิด 19 ในประชาชนไทย โดยเริ่มให้วัคซีนโควิด 19 ในเด็กอายุ 5-11 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2565 จากผลการศึกษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็กที่ได้รับวัคซีนพบว่า ไม่ว่าจะฉีดด้วยสูตรไขว้วัคซีน Sinovac กับวัคซีน Pfizer หรือวัคซีน Pfizer 2 เข็ม สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ได้สูง แต่ระดับภูมิคุ้มกันลดต่ำลงภายหลังได้รับวัคซีนเข็มที่ 2 เป็นระยะเวลา 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งอาจไม่เพียงพอ ต่อการป้องกันโรคโดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน และเมื่อฉีดกระตุ้นเป็นเข็มที่ 3 จะทำให้ระดับภูมิคุ้มกันสูงขึ้น มาก และป้องกันสายพันธุ์ที่กลายพันธุ์ได้ดีขึ้น โดยจากการศึกษาเปรียบเทียบในผู้ใหญ่พบว่า วัคซีนชนิด Pfizer กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูงกว่าวัคซีนเชื้อตาย ซึ่งมีอัตราการเกิดอาการข้างเคียงมากกว่าวัคซีนเชื้อตาย แต่ไม่รุนแรง อย่างไรก็ตาม การฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นทุกชนิดสามารถลดความรุนแรงของโรคได้ดี ที่ประชุมคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ครั้งที่ 5/2565 วันที่ 2 สิงหาคม 2565 และ ที่ประชุมศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครั้งที่ 476 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2565 มีมติให้คำแนะนำการฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้น ในเด็กอายุ 5-11 ปี เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันในกลุ่มเป้าหมายในสูงเพียงพอต่อการป้องกันการเจ็บป่วยรุนแรง และการระบาดของโรค โควิด 19 ในเด็กอายุ 5-11ปี จึงแนะนำแนวทางการพิจารณาการให้วัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้นในเด็กอายุ 5-11 ปี ดังนี
Resource Info : ${cur_meta.name}
Download Go to resourceResource last updated date | ${cur_meta.last_modified} |
Resource creation date | ${cur_meta.created} |
Resource format | ${cur_meta.mimetype} |
Resource ID | ${cur_meta.id} |
Description | ${cur_meta.ori.description} |
Accessible Condition | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
First year of data | ${cur_meta.ori.resource_first_year_of_data} |
Last year of data | ${cur_meta.ori.resource_last_year_of_data} |
Disaggregate |
|
${cur_meta.ori.resource_disaggregate_other} | |
Unit of measure | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_measure} |
Unit of multiplier | ${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier} |
${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier_other} | |
Last updated date | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
Data release calendar | ${cur_meta.ori.resource_data_release_calendar} |
Official Statistics | ${cur_meta.ori.resource_official_statistics=='True'?'ใช่':'ไม่ใช่'} |
Additional Info
Data Key | f07629ef-85d1-471b-8b87-53abf081f931 |
---|---|
Tags |
จำนวนเด็กอายุ 5 – 11 ปี
ป้องกัน
วัคซีน
เด็ก
โควิด-19
|
Visibility | Public |
Dataset create date | June 14, 2022 |
Maintain date | September 15, 2022 |
Data Type | ข้อมูลสถิติ |
Contact Person | กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข |
Contact Email | plan@nswo.mail.go.th |
Objective |
|
Update Frequency Unit | วัน |
Update Frequency Interval | 1 |
Geo Coverage | อำเภอ |
Data Source | จากการฉีดวัควีน SQLite Moph_IC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ |
Data Format | HTML |
Data Category | ข้อมูลสาธารณะ |
License | License not specified |
Accessible Condition | ไม่มี |
URL | https://nsn.moph.go.th/nsnq/index.php |
Data Language | ไทย |
Last updated date | 2022-06-14 |
Data release calendar | 2022-06-14 |
First year of data (Statistical data) | 2563 |
Last year of data (Statistical data) | 2565 |
Disaggregate (Statistical data) | ไม่มี |
Unit of measure (Statistical data) | คน |
Unit of multiplier (Statistical data) | หน่วย |
Calculation method (Statistical data) | ไม่มี |
Standard (Statistical data) | ไม่มี |
Official Statistics | No |
High Value Dataset | No Show |
Data Quality Dimension
Data Quality Dimension | Percent (%) |
---|---|
ความถูกต้องและสมบูรณ์ (Acuracy & Compleaness) | 0 |
ความสอดคร้องต้องกัน (Consistency) | 0 |
ความเป็นปัจจุบัน (Timeliness) | 72.43 |
ตรงตามต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) | 8.33 |
ความพร้อมใช้งาน (Availability) | 20 |
Showcases
Related
ผังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
ผังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.กทม.) ประกอบด้วย คลื่น FM และ AM
การประเมินผลโครงการสร้างการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
ข้อมูลดิบการประเมินผลการรับรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสาร การนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมาย...