วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร - CKAN

วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

องค์กร : nakhonsawan

วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ฉบับที่ 6 ระบุว่าไทยจะต้องเปลี่ยนแผนจากประเทศเกษตรกรรมเป็นประเทศอุตสาหกรรม จึงจะสามารถอยู่รอดและมีการพัฒนาประเทศได้แต่เนื่องจากสภาพภูมิประเทศและดินฟ้าอากาศของประเทศไทยเหมาะในการเพาะปลูก จึงมีผลผลิตทางการเกษตรและ ของเหลือทิ้งทางการเกษตรมากมาย การพัฒนาอุตสาหกรรมจึงได้มุ่งเน้นหนักทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมอาหารเพื่อแปรรูปวัสดุเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและส่งออก เป็นการเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น แทนที่จะเป็นผลผลิตเกษตรอย่างเดียว ทำให้เกิดอุตสาหกรรมแปรรูปต่างๆ เช่น การผลิตแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลัง ผลิตอาหารทะเลสำเร็จรูปจากสัตว์น้ำชนิดต่างๆ เครื่องเฟอร์นิเจอร์จากต้นยางพาราผลิตภัณฑ์ผลไม้ตากแห้ง แช่อิ่ม กวน น้ำผลไม้ สมุนไพรแปรรูป ตลอดจนได้มีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อขึ้น ซึ่งจากการพัฒนาด้านนี้ ทำให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องหลายชนิด และรวมทั้งมีวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเหล่านั้นด้วย ซึ่งวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมต่าง ๆ นี้ อาจจะแบ่ง ประเภทออกได้เป็น 1. ของเหลือทิ้งที่เป็นวัสดุเกษตร (Agricultural Waste) เช่น ซังข้าวโพด ยอดอ้อย ฟางข้าว ต้นข้าวฟาง ใบสำปะหลัง ใบและต้นสัปปะรด เปลือกผลไม้ ฯลฯ 2. ของเหลือจากอุตสาหกรรม (Industrial waste) ส่วนใหญ่โรงงานในประเทศไทยเป็นโรงงานที่ใช้วัตถุดิบจากภาคการเกษตรในการผลิตเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าสูงขึ้น เช่น โรงงานผลิตสุราและแอลกอฮอล์ โรงงานผลิตอาหารและผลไม้กระป๋อง เป็นต้น ดังนั้นจึงมีของเสียที่ปล่อยทิ้งซึ่งอยู่ในรูปของแข็งและของเหลวจากวัตถุดิบเกษตร ของเสียเหล่านี้ยังมีปริมาณสารอินทรีย์อยู่มากและได้ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นเวลาช้านานแล้วของเสียจากอุตสาหกรรมเกษตรและวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ประกอบด้วยสารอินทรีย์ต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ยังมีคุณค่าทางเศรษฐกิจอยู่ ดังนั้น หากได้มีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการแยกสารอินทรีย์เหล่านี้ให้เป็นสารอินทรีย์ที่มีคุณค่าสูงขึ้น เช่น การแยกลิกนิน (Lignin) จาก Sulphite waste liquor and Black liquor จากน้ำทิ้งโรงงานผลิตเยื่อกระดาษ การแยกสารสเตอรอยด์ จากการผลิตเส้นใยป่านศรนารายณ์ ซึ่งใช้เป็นสารตั้งต้นของการผลิตสเตอรอยด์ฮอร์โมน การสกัดแทนนิน (Tannin) จากเปลือกเงาะ การผลิตปุ๋ยหมัก และการผลิตแก๊สชีวภาพ เป็นต้น ดังนั้น จึงเห็นว่าการนำวัสดุเหลือใช้ หรือของเสียจากอุตสาหกรรมเกษตรมาใช้ประโยชน์ จำเป็นต้องพิจารณาอย่างเป็นระบบ (System Approach)โดยศึกษาตั้งแต่วัสดุเหลือใช้การเกษตรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในภาคเกษตรกรรม น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม6โดยเฉพาะในด้านปริมาณและ คุณลักษณะ ตลอดจนแหล่งของวัตถุดิบจนถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสม

ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}

ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากร
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog ${cur_meta.last_modified}
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog ${cur_meta.created}
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล ${cur_meta.mimetype}
รหัสทรัพยากรข้อมูล ${cur_meta.id}
รายละเอียด ${cur_meta.ori.description}
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition}
ปีที่เริ่มต้นจัดทำเนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_first_year_of_data}
ปีล่าสุดที่จัดทำเนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_last_year_of_data}
การจัดจำแนก
  • ${ele}
${cur_meta.ori.resource_disaggregate_other}
หน่วยวัด ${cur_meta.ori.resource_unit_of_measure}
หน่วยตัวคูณ ${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier}
${cur_meta.ori.resource_unit_of_multiplier_other}
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date}
วันที่เผยแพร่เนื้อหาข้อมูล ${cur_meta.ori.resource_data_release_calendar}
สถิติทางการ ${cur_meta.ori.resource_official_statistics=='True'?'ใช่':'ไม่ใช่'}
Data source cannot be displayed.
ข้อมูลทั้งหมด ${cur_meta.data.total.toLocaleString()} 0 รายการ
 100 500 1,000 รายการ

ข้อมูลเพิ่มเติม

รหัสชุดข้อมูล 4ea0b41f-6606-4f6c-a709-878295b3cd87
แท็ค
ข้าว มันสำปะหลัง วัสดุเหลือใช้ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (มันสำปะหลัง) อ้อย เกษตร
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 9 มิถุนายน 2565
วันที่ปรับปรุง metadata 17 ธันวาคม 2567
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลสถิติ
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
อีเมลสำหรับติดต่อ nakhonsawan@doae.go.th
วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ชาติ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ อำเภอ
แหล่งที่มา สำรวจข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ(สำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์)
รูปแบบการเก็บข้อมูล CSV
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต License not specified
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มี
ภาษาที่ใช้ ไทย
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) 2021-09-01
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล 2021-09-01
ปีที่เริ่มต้นจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2564
ปีล่าสุดที่จัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) 2567
การจัดจำแนก (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
หน่วยวัด (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) กิโลกรัม
หน่วยตัวคูณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) หน่วย
วิธีการคำนวณ (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
มาตรฐานการจัดทำข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลสถิติ) ไม่มี
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง

มิติคุณลักษณะข้อมูลแบบเปิด

มิติคุณลักษณะข้อมูลแบบเปิด เปอร์เซ็นต์ (%)
ความถูกต้องและสมบูรณ์ (Acuracy & Compleaness) 55.49
ความสอดคร้องต้องกัน (Consistency) 100
ความเป็นปัจจุบัน (Timeliness) 100
ตรงตามต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) 0
ความพร้อมใช้งาน (Availability) 90

ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลสภาพภูมิอากาศบนพื้นที่สูง

ข้อมูล Data for Thai

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 28 มกราคม 2568
.. ..
จำนวนใบอนุญาตผลิตไพ่

• เป็นรัฐวิสาหกิจไทย กรณีเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ต้องมีวัตถุประสงค์ในการผลิตและ จำหน่ายไพ่ • เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย กรณีเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย...

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 9 มกราคม 2568
.. .. .. ..