รายงานสรุปโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน
(ดำเนินโครงการในปี พ.ศ. 2562) การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเพื่อรองรับการเติบโตของจานวนประชากรโลก ทาให้ความต้องการใช้พลังงานอยู่ในระดับสูง ในขณะที่แหล่งพลังงานหลักของโลกมีปริมาณจากัดและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ประกอบกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาภาวะโลกร้อน เนื่องจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นปัญหาที่ทั่วโลกกาลังให้ความสนใจและเร่งหามาตรการเพื่อควบคุม ในส่วนของประเทศไทย ถึงแม้จะมีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศของตนเอง แต่ยังคงไม่เพียงพอกับความต้องการ ทาให้ต้องพึ่งพาพลังงานนาเข้าจากต่างประเทศมาโดยตลอด อีกทั้งต้องเผชิญและปรับตัวอย่างต่อเนื่องกับภาวะผันผวนของราคาน้ามันซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจและการลงทุนโดยรวม ทาให้ต้องหันมาหาแหล่งพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทนอื่นๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการในอนาคต โดยมุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงทางพลังงานควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม
เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานเป็นหนึ่งในพลังงานทางเลือก ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปให้ความสนใจและหันมาพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อลดการพึ่งพาน้ามันดิบ และบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนจากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยในปี ค.ศ. 2009 สหภาพยุโรปมีมติให้มีการกาหนดปริมาณการปลดปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรมการบินของสายการบินพาณิชย์ตาม EU Emission Trading System ทั้งนี้ ตามข้อตกลงของธุรกิจการบินทั้งหมด ตั้งเป้าที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ ร้อยละ 50 ภายในปี ค.ศ. 2050 โดยสายการบินพาณิชย์ที่บินผ่านน่านฟ้าของประเทศในกลุ่ม EU ที่ใช้น้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานในปริมาณร้อยละ 10 ขึ้นไป จะได้รับการยกเว้นภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) แต่ปัจจุบันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานยังมีปริมาณการผลิตน้อย และราคาแพง การผลักดันให้เกิดการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน ต้องมียุทธศาสตร์ และการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน โดยใช้กิจกรรมต่างๆสนับสนุนเพื่อสร้างความตื่นตัวในสังคม ตลอดจน ส่งเสริมการวิจัยและเทคโนโลยีการผลิต
เนื่องจากการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน มีความเกี่ยวพันกับหลายภาคส่วน อันได้แก่ ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิตน้ามัน อุตสาหกรรมการบิน รวมถึงผู้บริโภค ดังนั้นการกาหนดนโยบายและมาตรการสนับสนุนต่างๆ จาเป็นที่จะต้องคานึงถึงผลกระทบและข้อจากัดของทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึงเพื่อให้ได้นโยบาย มาตรการ รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการของภาคส่วนต่างๆ อย่างเหมาะสม อันจะทาให้การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การจัดทาโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันแผนการผลิตและแผนปฏิบัติการการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในระดับธุรกิจการบิน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงการสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกต่อไป
วัตถุประสงค์ -ศึกษาแนวทางและแผนปฏิบัติการ การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืนของประเทศ -ศึกษาแผนการลงทุนเพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ และการนาไปใช้งานจริงเพื่อนาเสนอต่อภาครัฐในการกาหนดนโยบายของประเทศต่อไป
ข้อมูลทรัพยากร : ${cur_meta.name}
ดาวน์โหลด ไปสู่ทรัพยากรวันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.last_modified} |
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog | ${cur_meta.created} |
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล | ${cur_meta.mimetype} |
รหัสทรัพยากรข้อมูล | ${cur_meta.id} |
รายละเอียด | ${cur_meta.ori.description} |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_accessible_condition} |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ${cur_meta.ori.resource_data_collect} |
${cur_meta.ori.resource_data_collect_other} | |
วันที่เริ่มต้นสร้าง | ${cur_meta.ori.resource_created_date} |
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด | ${cur_meta.ori.resource_last_updated_date} |
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล | 26391911-cec6-473f-9342-dcb11b12e299 |
---|---|
แท็ค |
เชื้อเพลิงอากาศยาน
|
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล | สาธารณะ |
วันที่สร้าง metadata | 3 ตุลาคม 2565 |
วันที่ปรับปรุง metadata | 21 สิงหาคม 2567 |
ประเภทชุดข้อมูล | ข้อมูลประเภทอื่นๆ |
เอกสารรายงานสรุปโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน | |
ชื่อฝ่ายงานสำหรับติดต่อ | กองพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ |
อีเมลสำหรับติดต่อ | bioethanol@dede.go.th |
วัตถุประสงค์ |
|
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล | ตามเวลาจริง |
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ | ประเทศ |
แหล่งที่มา | รายงานสรุปโครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) |
รูปแบบการเก็บข้อมูล | |
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ | ข้อมูลสาธารณะ |
สัญญาอนุญาต | ครีเอทีฟคอมมอนส์ ไม่ใช้เพื่อการค้า (ไม่ระบุรุ่น) |
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล | ไม่มี |
ผู้สนับสนุนหรือผู้ร่วมดำเนินการ | สถาบันการศึกษา |
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล | ไม่มี |
ภาษาที่ใช้ |
|
วันที่เริ่มต้นสร้าง | 2022-10-03 |
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) | 2022-10-03 |
ข้อมูลอ้างอิง | ไม่ใช่ |
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง | แสดง |
ตัวอย่างการใช้ข้อมูล
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ผังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
ผังรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.กทม.) ประกอบด้วย คลื่น FM และ AM
การประเมินผลโครงการสร้างการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ
ข้อมูลดิบการประเมินผลการรับรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสาร การนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมาย...