แท็ค
-
ธรณีวิทยา (17)
-
ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม (13)
-
แร่ (6)
-
แหล่งซากดึกดำบรรพ์ (6)
-
รอยเลื่อน (5)
-
ซากดึกดำบรรพ์ (4)
-
รอยคดโค้ง (4)
-
รอยแตก (4)
-
ลักษณะทางธรณีวิทยา (4)
-
หน่วยหิน (4)
รูปแบบ
องค์กร
พื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่มประจำวัน จาก AP Model (2 )
พื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่ม คือ พื้นที่ที่ได้จากแบบจำลองการวิเคราะห์บนพื้นฐานของหลักการทางสถิติ เรียกว่า แบบจำลองการเตือนภัยแผ่นดินถล่มโดยอาศัยค่าน้ำฝนสะสม (AP_Model,...
พื้นที่ที่มีโอกาสเสี่ยงภัยจากสารพิษตามธรรมชาติ (2 )
ระดับความเสี่ยงของพื้นที่ที่มีโอกาสเสี่ยงภัยจากสารพิษตามธรรมชาติ โดยแปลความหมายจากผลการวิเคราะห์ทางเคมีกับค่ามาตรฐานตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ...
ตำบลที่อยู่ใกล้รอยเลื่อนมีพลังในรัศมี 20 กิโลเมตร (3 )
ขอบเขตพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในประเทศไทยรายหมู่บ้าน ที่อยู่ใกล้แนวรอยเลื่อนมีพลังในระยะประมาณ 20 กิโลเมตร
รายงานการจัดทำบัญชีซากดึกดำบรรพ์ (2 )
รายงานการจัดทำบัญชีซากดึกดำบรรพ์ในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งได้มีการจัดทำข้อมูลประจำรายการชิ้นตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ในคลังเก็บตัวอย่าง และเผยแพร่ข้อมูลบนระบบฐานข้อมูลซากดึกดำบรรพ์ออนไลน์
แรงดันน้ำใต้ดินจากเครื่องวัดมวลดิน (2 )
ข้อมูลแรงดันน้ำใต้ดินที่ได้จากเครื่องวัดแรงดันน้ำใต้ดินอัตโนมัติซึ่งอุปกรณ์ของสถานีตรวจวัดการเคลื่อนตัวของมวลดิน เพื่อประเมินสถานภาพความเสี่ยงธรณีพิบัติภัย...
เส้นทางท่องเที่ยวแนะนำภายในอุทยานธรณี (2 )
เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ที่มีการจัดการการท่องเทียวเชิงธรณี ที่มีการรวบรวมสถานที่ท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา ธรรมชาติวิทยา และวัฒนธรรม โดยอุทยานธรณีแต่ละพื้นที่
บัญชีซากดึกดำบรรพ์ (2 )
บัญชีข้อมูลประจำรายการชิ้นตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์
แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ (2 )
แผนแม่บทการบริหารจัดการแร่ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของประเทศให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560...
หน่วยหินรายจังหวัด 1:250,000 (2 )
ข้อมูลแสดงและบรรยายคุณลักษณะทางธรณีวิทยา อายุทางธรณีวิทยา หมวดหิน กลุ่มหิน เป็นต้น...
การเคลื่อนตัวของมวลดิน (2 )
ข้อมูลการเคลื่อนตัวของมวลดินที่ได้จากเครื่องมือวัดการเคลื่อนตัวของมวลดินอัตโนมัติ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ของสถานีตรวจวัดการเคลื่อนตัวของมวลดิน เพื่อประเมินสถานภาพความเสี่ยงธรณีพิบัติภัย...
เขตสำรวจและศึกษาวิจัยซากดึกดำบรรพ์ (2 )
ข้อมูลแหล่งซากดึกดำบรรพ์ที่ประกาศเป็นเขตสำรวจและศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแหล่งซากดึกดำบรรพ์หรือซากดึกดำบรรพ์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ พ.ศ. 2551
จุดปลอดภัยชั่วคราวจากแผ่นดินถล่ม (3 )
ชื่อสถานที่ปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุการ์ณดินถล่ม แสดงข้อมูลเป็นจุดตำแหน่งสถานที่ ได้แก่ชื่อโรงเรียน ชื่อวัด ศาลาเอนกประสงค์ เป็นต้น
เครือข่ายอุทยานธรณี (2 )
เครือข่ายอุทยานธรณีเกิดขึ้นจากในพื้นที่ของอุทยานธรณีจำเป็นต้องมีเครือข่ายของผู้มีส่วนได้เสีย ในการดำเนินงานอุทยานธรณี เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจความคิดเห็น...
การสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี (4 )
ข้อมูลพื้นฐานด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ประกอบด้วย ข้อมูล ธรณีวิทยา ข้อมูลทรัพยากรแร่ ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ ข้อมูลธรณีเคมีและข้อมูลธรณีเทคนิคและแผนที่ประกอบ ตามมาตราส่วนที่เหมาะสม...
จุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (2 )
ข้อมูลเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยและใกล้เคียง
แผนบริหารจัดการแหล่งซากดึกดำบรรพ์ (2 )
แผนการบริหารจัดการแหล่งซากดึกดำบรรพ์ที่ประกาศเป็นแหล่งซากดึกดำบรรพ์ขึ้นทะเบียน โดยดำเนินการประเมินสถานภาพการบริหารจัดการ และวิเคราะห์สภาพแวดล้อม...
ตำแหน่งพิพิธภัณฑ์ (2 )
ประกอบด้วย ข้อมูลตำแหน่งพิพิธภัณฑ์ และรายละเอียดของพิพิธภัณฑ์
รายงานการจัดทำบัญชีแหล่งซากดึกดำบรรพ์ (2 )
รายงานการจัดทำบัญชีแหล่งซากดึกดำบรรพ์ในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งมีการจัดทำข้อมูลประจำแหล่งซากดึกดำบรรพ์ และประเมินแหล่งฯ เพื่อการบริหารจัดการ
สถานีวัดค่าน้ำขึ้นน้ำลง (3 )
ข้อมูลสถานีวัดการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล ทั้งหมด 8 สถานี ได้แก่ ตราด ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง ภูเก็ต และสตูล
ขอบเขตแหล่งซากดึกดำบรรพ์ขึ้นทะเบียน (3 )
ข้อมูลแหล่งซากดึกดำบรรพ์ที่ประกาศขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ พ.ศ. 2551